กลุ่มที่ 5 การปฎิบัติตามคำส่ง

นิทาน อะไรเอ่ย

วันจันทร์ที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2553

บันทึกข้อสอบปลายภาค

ข้อสอบ ปลายภาค วิชา การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
จงตอยคำถามต่อไปนี้
1. ในการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัยท่านต้องศึกษาในเรื่องใดบ้าง
ตอบ 1. เทคนิคการสอนภาษา
2. แนวคิดพื้นฐานของการสอนภาษา
3. หลักการสอน

4.ความหมายของภาษา
5.ความสำคัญของภาษา
6.หลักการของการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
2. การจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัยมีวัตถุประสงอะไร
ตอบ 1. เพื่อพัฒนาทักษะการพูด การอ่าน
2. เพื่อพัฒนาทักษะการพูด การอ่านให้มีประสิทธิภาพเชิงสร้างสรรค์
3. เพื่อเสริมประสบการณ์ทักษะทางภาษา ของเด็กระดับปฐมวัย ตามเกณฑ์มาตรฐาน
4. เพื่อให้เด้กได้เด็กการเรียนรู้เองไปตามธรรมชาติ
3. หลักการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัยมีอะไรบ้าง
ตอบ 1. ครูจะมีหน้าที่จัดประสบการณ์ที่จะสร้างเสริม ฝึกฝนเด็กให้พัฒนาทักษะฟัง พูด อ่าน เขียน ครูควรต้องยอมรับฟัง ตั้งใจฟัง ไม่มีอคติต่อการใช้ภาษาของเด็กแต่สิ่งที่ควรคิดถึงเสมอ คือ ครูไม่ใช่ผู้ป้อนความรู้ แต่ครูเป็นผู้จัดการความรู้และประสบการณ์ให้แก่เด็ก
2. เพื่อให้เด็กได้เรียนภาษาเป็นสิ่งที่น่าสนใจและสนุกสนาน
4. ท่านมีแนวทางในการให้ความรู้กับผู้ปกครองเพื่อส่งเริมพัฒนาการทางภาษาได้อย่างไรบ้าง

ตอบ ในเรื่องของการพูดพ่อแม่หรือผู้ปกครองควรออกเสียงให้ชัดเจน พูดให้ถูกต้องไม่พูดล้อเลียนเสียงเด็กและควรใช้ภาษาที่ซับซ้อนขึ้นตามวัยของเด็กแต่ละวัย ควรหาเวลาพูดคุยกับเด็กให้บ่อยๆ เพื่อเด็กจะได้เรียนรู้คำศัพท์ที่มากขึ้น ถ้าเด็กมีข้อบกพร่องในการออกเสียง พ่อแม่หรือผู้ปกครองควรจัดหาวิธีเพื่อแก้ไขข้อบกพร่องในการออกเสียง พ่อแม่หรือผู้ปกครองควรให้เวลากับเด็กในการอ่านหนังสือให้เด็กฟัง และระหว่างนั้นควรมีการซักถาม พูดคุยกับเด็ก-พ่อแม่และผู้ปกครองควรจัดหาหนังสือที่หลากหลาย เพื่อช่วยให้เด็กได้เรียนรู้จากสื่อที่หลากหลาย
5.ให้ท่านเลือกกิจกรรมส่งเสนิมพัฒนาทางภาษาที่ท่านชอบที่สุดพร้อมให้เหตุผล

ตอบ ชื่อกิจกรรม อ่านข่าวตอนเช้า
วัตถุประสงค์ เพื่อให้เด็กได้ฝึกทักษะการอ่าน เพื่อให้เด็กได้ฝึกทักษะในการใช้ภาษา เพื่อศึกษาพฤติกรรมของเด็กในการร่วมทำกิจกรรม เพื่อที่จะได้รู้และเข้าใจในตัวเด็กมากขึ้น
กิจกรรม ให้เด็กได้เล่าถึงเรื่องราวในกิจวัตรประจำของเด็กเป็นข่าวว่าตัวเองทำอะไรบ้างตั้งแต่ตื่นนอนมาทำอะไรบ้าง ทานข้าวกับอะไร ใครเป็นคนมาส่ง จนกระทั่งมาถึงโรงเรียน เป็นต้น
ประเมินผล สังเกตจากการร่วมทำกิจกรรม และสังเกตจากการตอบคำถามเล่าเรื่องราวของเด็กแต่ละคนบ้างคนก็ยังไม่คุ้นเคยกับเรา จึงทำให้ขณะที่ร่วมทำกิจกรรมเด็กมีอาการเขินอาย ไม่กล้าพูด เวลาถามก็จะตอบแค่ประโยคสั้นๆ และทำไห้เด็กเกิดความคุ้นเคยกับครู

บันทึกการเรียนครั้งที่ 11

จากการที่ได้เรียนวิชานี้ได้รับความรู้มากมายและได้ปฏิบัติงานจริงเพราะว่าถ้าเราไม่ลงงานจริง จะไม่รู้เลยว่า เด็กอนุบาลคิดอย่างไรอยากเรียนรู้สิ่งใดมากกว่าจากที่ได้ไปจัดกิจกรรมที่โรงเรียนสาธิตครั้งนั้นทำให้รู้ว่าเด็กจะชอบอะไรให้เล่านิทานมากกว่าซึ่งกิจกรรมเรานำสิ่งที่แปลกใหม่ก็จริงแต่มันไม่ค่อดึงดูดเด็กเท่าไรหนัก เพราะว่าเด็กจะชอบภาพสีสวยๆ ชอบดูรูปภาพมากกว่าจะทำกิจกรรมกับนักศึกษา

วันศุกร์ที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553

บันทึกครั้งที่ 10

ส่งงานนิทานเรื่อง ลูกเป็ดขี้เหร่

จัดทำโดย นางสาวนันทนากร์ หุ้นศรี
และ นางสาวอัญชลี รัตนวรรณ

วันศุกร์ที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553

บันทึกครั้งที่ 9

222


รายงานต่อจากสัปดาห์ที่แล้ว

กล่มที่ 1 เล่านิทานประกอบเพลง เพื่อนรายงาน
กลุ่ม 3 เล่านิทานโดยการอัดเสียง
กลุ่ม5 ปฎิบัติตามคำส่ง โดย มีเพื่อนรายงานทั้งหมด 4คน
นางสาวนันทนากรณ์ ได้รับได้ไปทำกิจกรรมให้เด็ก อนุบาล 2







วันศุกร์ที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2553

บันทึกครั้งที่ 8

วันนี้อาจารย์ทบทวนและพูดคุยกับนักศึกษา
เกี่ยวกับงานกลุ่มที่สั่งให้นักศึกษาแบ่งกลุ่ม4คน 6กลุ่ม จัดกิจกรรมทางภาษาที่โรงเรียนอนุบาลสาธิตจันทรเกษม อาจารย์บอกรายละเอียดและยกตัวอย่างกิจกรรมของแต่ละกลุ่มให้นักศึกษาฟัง และฝึกให้นักศึกษาคิดตาม พร้อมทำความเข้าใจ
-พร้อมทั้งให้นักศึกษาทำตารางการจัดกิจกรรมทางภาษาส่งมาให้อาจาย์ดูทุกกลุ่ม
-รวมทั้งอาจารย์ตรวจงานปริศนาคำทายให้กับนักศึกษา และยกตัวอย่างการพิมพ์คำและแยกคำเพื่อใช้ในการอ่านให้เด็กอ่านง่ายและให้เด็กได้จำคำต่างๆได้
บรรยากาศในห้องเรียน
วันนี้อากาศเย็นสบาย มีการให้นักศึกษาลองออกมานำเสนองานปริศนาคำทายทีละคน

วันศุกร์ที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2553

บันทึกครั้งที่7

วันพฤหัสบดีที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2553
วันศุกร์ที่ 18 ธันวาคม พ.ศ 2552อาจารย์สั่งงานว่าจะให้นักศึกษาจับกลุ่มวันละ3คน ไปเล่านิทานตอนเช้าให้เด็กฟังที่สาธิตอนุบาลจันทรเกษม ให้วางแผน จดบันทึก และถ่ายรูป (บันทึกลงบล็อก) รายละเอียดต้องมีการเตรียมตัวให้พร้อมควรที่จะเลือกเรื่องแบบไหนเล่าเรื่องอะไร หน่วยที่จะเล่า เป็นต้น
บรรยากาศในห้องเรียน
บรรยากาศเย็นสบาย เรียนแบบสบายๆ มีการถามตอบแสดงความคิดเห็นในห้องเรียน

บันทึกครั้งที่ 5

วันพฤหัสบดีที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2552

วันนี้นำเสนองานต่อจากอาทิตย์ที่แล้ว
กลุ่มที่4 การสอนภาษาแบบองค์รวมการสอนภาษาแบบองค์รวม เป็นปรัชญาแนวคิดความเชื่อที่จะนำไปสู่การปฏิบัติ เป็นการสอนที่เน้นพัฒนาการทุกๆด้าน ทั้งการ ฟัง พูด อ่าน เขียน สิ่งสำคัญในการสอนภาษาแบบองค์รวมคือต้องพัฒนาให้เข้ากับผู้เรียนเป็นสำคัญ
กลุ่มที่5 การจัดประสบการณ์สำหรับเด็กการจัดประสบการณ์สำหรับเด็ก ควรคำนึงถึงเด็กเป็นสำคัญ เพื่อส่งเสริมพัฒนาการของเด็กทุกด้าน การจัดประสบการณ์สำหรับเด็กในการจัดควรจัดให้สอดคล้องกับพัฒนาการของเด็ก เปิดโอกาสให้เด็กแสดงออกผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 ช่วยให้เด็กเกิดการเรียนรู้ จัดให้เด็กเกิดการเปลี่ยนแปลงการเรียนรู้ทางภาษาหลักการจัดประสบการณ์ เป็นวิธีที่เด็กเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ให้เด็กลงมือกระทำ ทางด้านจิตวิทยาเป็นการทำให้เด็กเกิดการเปลี่ยนแปลง คือการได้ทดลองปฏิบัติ ต้องเป็นการปฏิบัติที่เป็นไปตามธรรมชาติ คือ มีอิสระ สนุกสนาน ไม่มีกรอบ เป้นการจัดบนพื้นฐานความสนุกสนาน ไม่มีขอบเขตบังคับ
บรรรยากาศในการเรียนวันนี้ ก็ดีค่ะเพราะ